เราสามารถ Export VM มาเก็บไว้บนเครื่องของเราเป็นไฟล์ OVA ได้ โดยใช้ Powershell แต่มีข้อจำกัดตรงที่สามารถใช้ได้เฉพาะ VM Power-Off อยู่เท่านั้น หาก Power-On จะใช้วิธีการ Clone VM เพื่อทำการ Export OVA […]
หลังจากที่เราได้ทำ VM Backup ไป เราจะมาทำ Archive เพื่อเก็บเป็นไฟล์ต้นฉบับ เวลาเกิดเหตุการณ์ถูกโจมตี โดยเฉพาะ VM ที่เป็น ISPConfig เราจะหาสาเหตุได้ยาก หากไม่มีไฟล์ต้นฉบับในการเปรียบเทียบ เพราะไม่ได้ดูในส่วนนี้โดยตรง
โดยปกติการตรวจสอบ DB Backup เมื่อตรวจสอบเสร็จเรียบร้อยจะทำการบันทึก TimeStamp ซึ่งพอเป็น VM Backup โดยใช้ Powershell บน Windows ตอนแรกทำเป็น Excel แล้วมันยุ่งยาก เลยเปลี่ยนมาเป็นใช้ Powershell ทำการบันทึก พร้อมทั้งระบุ Cause […]
หลังจากที่เราเขียน Powershell Script ในการทำ VM Backup ขึ้นมา เราจะไม่มีการแจ้งเตือนว่ากา Backup ที่เราทำนั้น Success หรือไม่ เลยควรจะทำ Notification ไม่ว่าจะเป็นทาง Email หรือทาง Social Network อย่าง […]
โดยปกติการ Backup VM บน VMware ก็สามารถทำได้หลายท่า แต่ส่วนใหญ่ที่นิยมทำกันก็คือการ Clone VM ด้วย PowerCLI Script แล้วตั้ง Schedule เอาไว้ หรือใช้ Software ซึ่งก็มีหลายเจ้าให้เลือกใช้ แต่ต้องเสียตังค์ เราจะมาพูดถึงการ […]
วิธีการคำนวณ Backup Size ของ Veeam หากอยากคำนวณแบบจริงจัง ทาง Veeam ก็จะมีเครื่องมือในการคำนวณแต่สามารถใช้ได้เฉพาะกับ Propartner แต่ถ้าหากใครไม่ได้เป็น Propartner ก็สามารถใช้เครื่องมือ Restore Point Simulator Calculator ( RPS ) ซึ่งเป็น […]
โดยปกติบน ISPConfig จะมีให้เราสามารถ Backup ข้อมูลของแต่ละเว็บพร้อมฐานข้อมูล และเรายังสามารถ Backup ของ VM อีกด้วย ซึ่งถ้าหากเว็บไซต์เราพังขึ้นมา แล้วเกิดซวย 2 เด้ง ไฟล์ Backup ดันหายด้วย เหลือทางเลือกเดียวนั่นคือเราต้องทำการ Recovery VM […]
โดยปกติการย้ายข้อมูลข้ามเครื่องบน Windows อาจจะไม่ยากเท่าไหร่ แต่บน Linux แล้วละก็ ถือเป็นความท้าทายเลยทีเดียว เช่น หากเราต้องการ Copy ข้อมูลไปยังอีกเครื่องเพื่อสำรองข้อมูล จะมีปัญหาเรื่องของ Permission เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งต้องทำการบีบอัดโดยใช้ tar หรือ zip ซึ่งผมเคยเขียนบทความไปแล้ว แต่หากระหว่างทำการ […]